แบ่งปันความรู้
กฎหมาย DPS ใครได้ประโยชน์บ้าง ? |

“กฎหมาย DPS” มีแล้วใครได้ประโยชน์ เจาะอินไซต์ที่ ผู้ใช้บริการแพลตฟอร์มดิจิทัล ต้องอ่าน!

               “กฎหมาย DPS” (Digital Platform Services) หรือที่รู้จักกันในชื่อ พ.ร.ฎ. การประกอบธุรกิจบริการแพลตฟอร์มดิจิทัลที่ต้องแจ้งให้ทราบ พ.ศ. 2565 ที่จะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 21 สิงหาคม 2566 ที่จะถึงนี้ แน่นอนว่าในมุมของผู้ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย อย่างผู้ให้บริการ หรือ ผู้ประกอบธุรกิจบริการแพตลฟอร์มดิจิทัลนั้น คงติดตามความเคลื่อนไหวและมีการทำความเข้าใจกับกฎหมายฉบับนี้มาอย่างต่อเนื่อง เพราะกว่าจะมีกฎหมาย DPS กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม โดย สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ETDA (เอ็ตด้า) ในฐานะหัวเรือใหญ่ของการผลักดันกฎหมายฉบับนี้ ได้มีการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เปิดรับฟังความคิดเห็น ตลอดจนรวบรวมประเด็นเสนอแนะ เพื่อประโยชน์ในการนำไปปรับปรุงกฎหมายซึ่งได้มีผู้ให้บริการแพลตฟอร์มดิจิทัล ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง
แต่สำหรับในมุมของผู้ใช้งานแพลตฟอร์มดิจิทัล อย่างผู้บริโภค ผู้ซื้อ พ่อค้าแม่ค้า ตลอดจน พี่ๆ ไรเดอร์ จะได้รับประโยชน์อย่างไร? ยังคงเป็นประเด็นที่หลายคนอยากรู้ ซึ่งเมื่อเร็วๆ นี้ ETDA ได้มีการเผยแพร่ความรู้สร้างความเข้าใจ เพื่อตอบประเด็นคำถามข้างต้นแล้ว ผ่านรายการพอดแคสต์ “ED-DO (เอ็ด-ดู้) รู้ไว้ชีวิตไม่ตกขอบ ไปกับ ETDA” ตอน กฎหมาย Digital Platform ใครได้ประโยชน์? จะมีเนื้อหาน่าสนใจอย่างไรบ้าง แล้วการใช้งานแพลตฟอร์มดิจิทัลจะมั่นใจ ปลอดภัยขึ้นแค่ไหน วันนี้เราจะมาสรุปให้อ่านกัน

"การสื่อสารที่ชัดเจน” ทลายอุปสรรคความไม่เข้าใจกฎหมาย DPS

นโยบายการชี้แจงเกี่ยวกับการพิจารณากฎหมายอย่างต่อเนื่องบ่อยครั้งที่หลายๆ กรณียังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อน เช่น ผู้ขายสินค้าในแพลตฟอร์มดิจิทัลที่คนไลฟ์สดขายของในแพลตฟอร์มที่ทันสมัย ผู้บริหารดูแลระบบไปจดแจ้งกับ ETDA ซึ่งตรวจสอบแล้วกฎหมายควบคุมเฉพาะผู้ประกอบธุรกิจบริการแพลตฟอร์มระบบดิจิทัลดังนั้น ETDA เจ้าภาพหลักเตรียมการเร่งความเร็วในการสื่อสารข้อมูลต่างๆ รวมถึงในส่วนนี้ ประชุมรับฟังความคิดเห็นของคุณ เวทีชี้แจงชี้แจงกฎหมาย ประชาสัมพันธ์สื่อเพื่อสื่อสารประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ ที่เข้าถึงง่ายพร้อมคู่มือคู่มือประชาชนเพราะอยากให้ผู้ใช้บริการแพลตฟอร์มดิจิทัลเกิดความเข้าใจและวิสัยทัศน์เห็น ถึงโอกาสและเหตุผลที่ต้องใช้กฎหมาย DPS ส่วนใหญ่และรวบมัดทุกคำถามตอบทุกข้อสงสัย พนักงานต้อนรับ FAQs การเผยแพร่ผ่านทุกช่องทางโซเชียลมีเดียของ ETDA Thailandสำหรับการเตรียมความพร้อมและการเตรียมความพร้อมหลังมีการประกาศกฎหมาย DPS เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2566 ในวงความกว้างให้มากที่สุด

คุณอาจจะสงสัยว่ากฎหมาย DPS (Digital Platform Services) ที่เกิดขึ้นในวันที่ 21 สิงหาคมนี้ ทำให้ตัวเลขของปัญหาในการขายออนไลน์จากแพลตฟอร์มดิจิทัลเป็นศูนย์เลยหรืออาจจะสามารถตอบได้ แต่ในมุมของบริการอะไรก็ตาม ที่ทุกคนจะได้รับแน่นอนคือประสิทธิภาพของแพลตฟอร์มแพลตฟอร์มดิจิทัลอยู่นั้นมีความน่าเชื่อถือแน่นอนเนื่องจากโครงสร้างที่กฎหมายและกำหนดคือที่แพลตฟอร์มแพลตฟอร์มดิจิทัลเข้ามาจดแจ้งข้อมูลแล้วใช้การัน ตีด้วยความที่มักจะได้เข้ามาจดแจ้งกับ ETDA แล้วด้วยตลอดจนกฎหมายยังคงมีการก้าวต่อไปในการร่วมสร้างระบบนิเวศของสมาชิกออนไลน์ที่ร่วมสร้างความเชื่อมั่นภายใต้การควบคุมของการร่วมสร้าง ดูแลตนเองหรือควบคุมตนเองของแพลตฟอร์มอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ธรรมะเพื่อให้เป้าหมายที่ ETDA ต้องการที่จะเห็นนวัตกรรมอันใกล้ที่จำเป็นให้ทุกคนเข้าใจอย่างชัดเจนต่อกฎหมาย DPS หลังได้รับการสื่อสารในวงกว้างมากที่สุดและร่วมกันพิจารณากฎหมายดังกล่าวโดยภาพรวมเป็นทั้ง ‘ผู้ให้-รับรู้บริการแพลตฟอร์มดิจิทัล’ 

จาก “Network Effect” สู่แนวคิด “ดูแลแพลตฟอร์มดิจิทัล”

มีมุมของผู้คนมากมายจริงๆ หรือเปล่า? จุดศูนย์กลางแห่งความเกิดขึ้นจริงโดยไม่นับรวมประเด็นของการถูกหลอกสินค้าไม่ตรงปกตระกร้าสินค้าหายโดยไม่แจ้งให้ทราบหรือติดตามผู้รับผิดชอบได้ดังนั้น “การเข้ามาดูแลการให้บริการของแพลตฟอร์มแพลตฟอร์ม ร้องและความยุติธรรม” โดยที่หนึ่งมีความสำคัญที่ ETDA ในวันนี้ส่วนใหญ่ช่วยส่งเสริมให้สาธารณชนออนไลน์มีความปลอดภัยดูแลระบบที่การควบคุม DPS ในปัจจุบันเพราะในโลกความเป็นอยู่จริงแล้วสาธารณชน สินค้าอีกครั้งก็ต่อเมื่อเราติดตามในแผนกต่างๆหรือมีลีลาการขายสินค้าไม่ได้ราคาถูกหรือบริการจริงๆ นั่นเอง

“กฎหมาย DPS” ทั้งผู้ให้และผู้ใช้บริการต่างได้ประโยชน์

ฎหมาย DPS นอกจากจะสร้างกลไกให้เกิดกรอบแนวทางปฏิบัติที่ดี (Best Practice) แก่ผู้ให้บริการแพลตฟอร์มดิจิทัล จะได้มีแนวทางในการกำหนดทิศทาง วิธีการให้บริการและการดูแลควบคุมตัวเองที่เหมาะสมและมีมาตรฐานแล้ว ยังมีการกำหนดวิธีการลงทะเบียนผู้ใช้บริการด้วยการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล เพื่อจัดการคอนเทนต์ที่ไม่เหมาะสม การจัดการกับปัญหาการฉ้อโกงต่าง ๆ หรือ สแกมเมอร์ (Scammer) ที่สามารถระบุผู้กระทำได้ เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น ขณะเดียวกันยังสามารถช่วยส่งเสริมให้บริการแพลตฟอร์มมีความน่าเชื่อถืออีกด้วย นอกจากนี้ ในมุมของผู้ใช้บริการเอง ก็ยังได้รับประโยชน์จากกฎหมายฉบับนี้เช่นกัน เช่น ร้านค้าบนแพลตฟอร์มดิจิทัล ที่จะได้รับความชัดเจนในด้านข้อมูลต่าง ๆ ที่จำเป็น อาทิ เป็นบริการแพลตฟอร์มดิจิทัลอะไร ข้อมูลการจัดอันดับ Ranking ร้านยอดนิยม ช่องทางในการติดต่อกับผู้ให้บริการแพลตฟอร์ม ในกรณีที่ถ้าเกิดปัญหาจากการขายสินค้าบนแพลตฟอร์ม ส่วนผู้ซื้อหรือผู้บริโภคทั่วไป ไม่เพียงแต่จะได้รับการบริการที่ดีและปลอดภัยมากขึ้นเท่านั้น แต่ยังได้ใช้บริการแพลตฟอร์มดิจิทัลที่มีลักษณะของการเข้าถึงและใช้งานได้ง่าย (User Friendly) มีช่องทางในการติดต่อ หรือแม้แต่การยกเลิกออเดอร์ระหว่างทางก็สามารถทำได้ง่ายและเร็วขึ้น เป็นต้น

“การสื่อสารที่ชัดเจน” ทลายอุปสรรคความไม่เข้าใจกฎหมาย DPS

แม้ที่ผ่านมา จะมีการสื่อสารเกี่ยวกับรายละเอียดของกฎหมายอย่างต่อเนื่อง แต่ก็ดูเหมือนว่า หลายๆประเด็นยังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อน เช่น ผู้ขายสินค้าในแพลตฟอร์มดิจิทัล หรือแม้แต่คนไลฟ์สดขายของในโซเชียลมีเดีย ยังมีความเข้าใจว่า ตนเองจะต้องมีหน้าที่ไปจดแจ้งกับ ETDA ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว กฎหมายกำกับเฉพาะผู้ประกอบธุรกิจบริการแพลตฟอร์มดิจิทัล เท่านั้น ดังนั้น ETDA ในฐานะเจ้าภาพหลัก จึงเตรียมเร่งสปีดการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ทั้งการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น การเปิดเวทีชี้แจงรายละเอียดของกฎหมาย การปล่อยสื่อเพื่อการสื่อสารประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ ในรูปแบบที่เข้าถึงง่าย พร้อมจัดทำคู่มือฉบับประชาชน เพราะอยากให้ผู้ใช้บริการแพลตฟอร์มดิจิทัลเกิดความเข้าใจและเล็งเห็นถึงโอกาสและความสำคัญของการมีกฎหมาย DPS ได้อย่างถูกต้องมากที่สุด รวมถึงรวบมัดทุกคำถามตอบทุกข้อสงสัย จัดทำ FAQs เผยแพร่ผ่านทุกช่องทางโซเชียลมีเดียของ ETDA Thailand เพื่อสร้างการรับรู้และเตรียมความพร้อมหลังมีการประกาศบังคับใช้กฎหมาย DPS ในวันที่ 21 สิงหาคม 2566 ในวงกว้างให้มากที่สุด

บริการรับจดทะเบียนบริษัท รับทำบัญชี จดทะเบียนธุรกิจทุกประเภท จดทะเบียนบริษัท ห้างหุ้นส่วนจำกัด

จดทะเบียนบริษัท 9,500 บาท

ราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ค่าบริการและค่าธรรมเนียมต่างๆ แล้ว

ด้วยความตระหนักและประสบการณ์ ในส่วนด้าน  การลงทะเบียนบริษัท  กว่า 10 ปี มีลูกค้าไว้วางใจให้เราจดทะเบียนบริษัท มากกว่า 1,000 ราย/ปีจดทะเบียนที่ลงทะเบียนบริษัทกับเราจะได้รับคำแนะนำสูงสุด และเราจะพยายามรักษาสิทธิ์ต่างๆ ที่ จำเป็นต้องทราบก่อนที่จะดำเนินการตรวจสอบอย่างจริงจังจะเห็นถึงจุดสำคัญของธุรกิจที่ดำเนินการธุรกิจเพื่อให้ประสบความสำเร็จและคำแนะนำซึ่งคำแนะนำของเราล้วนเป็นประโยชน์ และช่วยเรื่องความติดตามในการดำเนินธุรกิจ เทค

จดทะเบียนบริษัท ราคาพิเศษ 9,500 บาท *** (ราคารวม VAT7%) เพียงจ่ายเพิ่ม

หมายเหตุ
*** ทุนจดทะเบียนไม่เกิน 1 เดือนต้องมีทุนจดทะเบียนเกิน 1 ติดต่อพนักงานเพื่อสอบถามรายละเอียด

พิเศษ !!! สำหรับลูกค้าจดทะเบียนใหม่

ส่วนลดพิเศษ!! จัดทำเว็บไซต์จาก
ปกติ 12,000 บาท เหลือเพียง 5,000 บาท
ฟรี !!! ระบบอีเมล์ภายใต้ชื่อโดเมนเนม

พิเศษ !!! ลูกค้าจดทะเบียนใหม่และทำบัญชี

  • ออกแบบเว็บไซต์ลดพิเศษเหลือ 3,500 บาท
  • ฟรี ออกแบบโลโก้บรษัท พร้อมแนะนำการทำตลาดออนไลน์
  • ฟรี รูปแบบใบส่งสินค้า ใบแจ้งหนี้ ใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงินและเอกสารสำคัญอื่นๆ
  • ฟรี ขึ้นทะเบียน ระบบ E-FILING เพื่อใช้นำส่งงบการเงินกับกระทรวงพาณิชย์
  • ฟรี จดทะเบียน ภ.อ.01 เพื่อใช้ยื่นภาษีผ่านระบบออนไลน์
  • ฟรี จัดเตรียมเอกสารขึ้นทะเบียน E-GP (ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ)
  • ฟรี ที่ปรึกษาด้านการตลาดและบริหารธุรกิจ

จดทะเบียนบริษัท รับจดทะเบียนบริษัท

ในการจดทะเบียนบริษัท ถ้าได้ดําเนินการทุกขั้นนตอนดังต่อไปนี้ ภายในวันเดียวกับวันที่ผู้เริ่มก่อการจัดทํา หนังสือบริคณห์สนธิ กรรมการจะจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิและจดทะเบียนตั้งบริษัทไปพร้อมกันภายใน วันเดียวก็ได้
1. ผู้เริ่มก่อการตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ร่วมกันจัดทําหนังสือบริคณห์สนธิ
2. จัดให้มีผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นครบตามจํานวนหุ้นทั้งหมดที่บริษัทจะจดทะเบียน
3. ประชุมจัดตั้งบริษัท (โดยไม่ต้องออกหนังสือนัดประชุมตั้งบริษัท) เพื่อพิจารณากิจการต่างๆ ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1108 โดยมีผู้เริ่มก่อการและผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นทุกคนเข้าร่วมประชุม (มอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้าประชุมแทนได้) และผู้เริ่มก่อการ และผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นทุกคน ให้ความเห็นชอบในกิจการที่ ได้ประชุมกันนั้น
4. ผู้เริ่มก่อการได้มอบกิจการทั้งปวงให้แก่กรรมการบริษัท
5. กรรมการได้เรียกให้ผู้เข้าชื่อซื้อหุ้น ใช้เงินค่าหุ้น โดยจะเรียกครั้งเดียวเต็มมูลค่าหรือไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบห้าของมูลค่าหุ้น ตามมาตรา 1110 วรรคสองก็ได้ และผู้เข้าชื่อซื้อหุ้นทุกคนได้ชําระเงินค่าหุ้นเสร็จ เรียบร้อยแล้ว

ข้อมูลที่ต้องใช้ในการ รับจดทะเบียนบริษัท

1. ชื่อของบริษัท (ตามที่ได้จองชื่อไว้) *ดูหลักเกณฑ์การจองชื่อนิติบุคคล*
2. ที่ตั้งสํานักงานแห่งใหญ่ / สาขา (ตั้งอยู่ ณ จังหวัดใด) พร้อมเลขรหัสประจําบ้านของที่ตั้งสํานักงาน,
E-mail และหมายเลขโทรศัพท์ของบริษัทหรือกรรมการ
3. วัตถุที่ประสงค์ของบริษัทที่จะประกอบกิจการค่า *ดูหลักเกณฑ์การกําหนดวัตถุที่ประสงค์*
4. ทุนจดทะเบียน จะต้องแบ่งเป็นหุ้นๆ มีมูลค่าหุ้นเท่าๆ กัน (มูลค่าหุ้นจะต้องไม่ต่ํากว่า 5 บาท)
5. ชื่อ ที่อยู่ อาชีพ และจํานวนหุ้นที่ผู้เริ่มก่อการจองซื้อไว้
6. ชื่อ ที่อยู่ อายุ สัญชาติ ของพยาน 2 คน
7. อากรแสตมป์ 200 บาท
8. ข้อบังคับ (ถ้ามี)
9. จํานวนทุน (ค่าหุ้น) ที่เรียกชําระแล้ว อย่างน้อยร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียน
10. ชื่อ ที่อยู่ อายุของกรรมการ
11. รายชื่อหรือจํานวนกรรมการที่มีอํานาจลงชื่อแทนบริษัท (อํานาจกรรมการ) *ดูตัวอย่างการกําหนดอํานาจกรรมการ*
12. ชื่อ เลขทะเบียนผู้สอบบัญชีรับอนุญาตพร้อมค่าตอบแทน
13. ชื่อ ที่อยู่ สัญชาติ และจํานวนหุ้นของผู้ถือหุ้นแต่ละคน
14. ตราสําคัญ *ดูหลักเกณฑ์การกําหนดดวงตรา*
15. ที่ตั้งสํานักงานแห่งใหญ่สาขา
บริษัทจะไม่จดทะเบียนตราสําคัญของบริษัทก็ได้ หากว่าอํานาจกรรมการไม่ได้กําหนดให้ต้อง ประทับตราสําคัญด้วย

44/14 ซอยนิมิตใหม่ 12 แขวงทรายกองดิน
เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ 10510

ช่องทางการติดต่อ

Fax: 02-914-6688 Mobile: 083-622-5555, 094-491-4333, 095-793-7000 Email:info@chonlatee.com , chonlatee.th@hotmail.com